จิตวิทยาการเรียนรู้
ความหมายจิตวิทยาการเรียนรู้
นักจิตวิทยาหลายท่านให้ความหมายของการเรียนรู้ไว้ เช่น
- คิมเบิล ( Kimble , 1964 ) "การเรียนรู้ เป็นการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างถาวรในพฤติกรรม อันเป็นผลมาจากการฝึกที่ได้รับการเสริมแรง"
-ฮิลการ์ด และ เบาเวอร์ (Hilgard & Bower, 1981) "การเรียนรู้ เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อันเป็นผลมาจากประสบการณ์และการฝึก ทั้งนี้ไม่รวมการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เกิดจากการตอบสนองตามสัญชาตญาณ ฤทธิ์ของยา หรือสารเคมี หรือปฏิกิริยาสะท้อนตามธรรมชาติของมนุษย์ "
-คอนบาค ( Cronbach ) "การเรียนรู้ เป็นการแสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมที่มีการเปลี่ยนแปลง อันเป็นผลเนื่องมาจากประสบการณ์ที่แต่ละบุคคลประสบมา “
-พจนานุกรมของเวบสเตอร์ (Webster 's Third New International Dictionary) "การเรียนรู้ คือ กระบวนการเพิ่มพูนและปรุงแต่งระบบความรู้ ทักษะ นิสัย หรือการแสดงออกต่างๆ อันมีผลมาจากสิ่งกระตุ้นอินทรีย์โดยผ่านประสบการณ์ การปฏิบัติ หรือการฝึกฝน"
นักจิตวิทยาหลายท่านให้ความหมายของการเรียนรู้ไว้ เช่น
- คิมเบิล ( Kimble , 1964 ) "การเรียนรู้ เป็นการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างถาวรในพฤติกรรม อันเป็นผลมาจากการฝึกที่ได้รับการเสริมแรง"
-ฮิลการ์ด และ เบาเวอร์ (Hilgard & Bower, 1981) "การเรียนรู้ เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อันเป็นผลมาจากประสบการณ์และการฝึก ทั้งนี้ไม่รวมการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เกิดจากการตอบสนองตามสัญชาตญาณ ฤทธิ์ของยา หรือสารเคมี หรือปฏิกิริยาสะท้อนตามธรรมชาติของมนุษย์ "
-คอนบาค ( Cronbach ) "การเรียนรู้ เป็นการแสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมที่มีการเปลี่ยนแปลง อันเป็นผลเนื่องมาจากประสบการณ์ที่แต่ละบุคคลประสบมา “
-พจนานุกรมของเวบสเตอร์ (Webster 's Third New International Dictionary) "การเรียนรู้ คือ กระบวนการเพิ่มพูนและปรุงแต่งระบบความรู้ ทักษะ นิสัย หรือการแสดงออกต่างๆ อันมีผลมาจากสิ่งกระตุ้นอินทรีย์โดยผ่านประสบการณ์ การปฏิบัติ หรือการฝึกฝน"
จิตวิทยา ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Psychology มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก 2 คำ คือ Phyche แปลว่า วิญญาณ กับ Logos แปลว่า การศึกษา ตามรูปศัพท์ จิตวิทยาจึงแปลว่า วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิญญาณ แต่ในปัจจุบันนี้ จิตวิทยาได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไป ความหมายของจิตวิทยาได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย นั่นคือ จิตวิทยาเป็นศาสตร์ที่ศึกษากี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์
การเรียนรู้ (Learning) ตามความหมายทางจิตวิทยา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลอย่างค่อนข้างถาวร อันเป็นผลมาจากการฝึกฝนหรือการมีประสบการณ์ พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงที่ไม่จัดว่าเกิดจากการเรียนรู้ ได้แก่ ฤติกรรมที่เป็นการเปลี่ยนแปลงชั่วคราว และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เนื่องมาจากวุฒิภาวะ
จิตวิทยาการเรียนรู้
การเรียนรู้ เป็นกระบวนการที่มีความสำคัญและจำเป็นในการดำรงชีวิต สิ่งมีชีวิตไม่ว่ามนุษย์หรือสัตว์เริ่มเรียนรู้ตั้งแต่แรกเกิดจนตาย สำหรับมนุษย์การเรียนรู้เป็นสิ่งที่ช่วยพัฒนาให้มนุษย์แตกต่างไปจากสัตว์โลก
อื่น ๆ ดังพระราชนิพนธ์บทความของสมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดา
ฯ ที่ว่า "สิ่งที่ทำให้คนเราแตกต่างจากสัตว์อื่น ๆ ก็เพราะว่า คนย่อมมีปัญญา
ที่จะนึกคิดและปฏิบัติสิ่งดีมีประโยชน์และถูกต้องได้ .
การเรียนรู้ช่วยให้มนุษย์รู้จักวิธีดำเนินชีวิตอย่างเป็นสุข ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมและสภาพการต่างๆ ได้ ความสามารถในการเรียนรู้ของมนุษย์จะมีอิทธิพลต่อความสำเร็จและความพึงพอใจในชีวิตของมนุษย์ด้วย
จิตวิทยา
ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Psychology มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก
2 คำ คือ Phyche แปลว่า วิญญาณ กับ Logos
แปลว่า การศึกษา ตามรูปศัพท์
จิตวิทยาจึงแปลว่า วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิญญาณ แต่ในปัจจุบันี้
จิตวิทยาได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไป
ความหมายของจิตวิทยาได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย นั่นคือ
จิตวิทยาเป็นศาสตร์ที่ศึกษากี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์การเรียนรู้ช่วยให้มนุษย์รู้จักวิธีดำเนินชีวิตอย่างเป็นสุข ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมและสภาพการต่างๆ ได้ ความสามารถในการเรียนรู้ของมนุษย์จะมีอิทธิพลต่อความสำเร็จและความพึงพอใจในชีวิตของมนุษย์ด้วย
การเรียนรู้ (Learning) ตามความหมายทางจิตวิทยา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลอย่างค่อนข้างถาวร อันเป็นผลมาจากการฝึกฝนหรือการมีประสบการณ์ พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงที่ไม่จัดว่าเกิดจากการเรียนรู้ ได้แก่ พฤติกรรมที่เป็นการเปลี่ยนแปลงชั่วคราว และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เนื่องมาจากวุฒิภาวะ
จิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมกับเทคโนโลยีการศึกษา
ภารกิจของผู้สอนในการที่จะทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ตามทฤษฏีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรม ผู้สอนจะต้องกำหนดจุดมุ่งหมายอย่างแน่ชัดก่อนว่าต้องการก่อให้เกิดพฤติกรรมเช่นใดขึ้นในตัวผู้เรียน แล้วจึงจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เหมาะสมตามลำดับที่ต้องการนำผู้เรียนให้ตอบสนอง เมื่อผู้เรียนตอบสนองถูกต้องก็ให้เสริมแรง
ภารกิจของผู้สอนในการที่จะทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ตามทฤษฏีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรม ผู้สอนจะต้องกำหนดจุดมุ่งหมายอย่างแน่ชัดก่อนว่าต้องการก่อให้เกิดพฤติกรรมเช่นใดขึ้นในตัวผู้เรียน แล้วจึงจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เหมาะสมตามลำดับที่ต้องการนำผู้เรียนให้ตอบสนอง เมื่อผู้เรียนตอบสนองถูกต้องก็ให้เสริมแรง
ตัวอย่างการนำทฤษฏีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมมาเป็นหลักการพื้นฐานของเทคโนโลยีการศึกษาที่เห็นได้อย่างชัดเจนที่สุด คือการสอนแบบโปรแกรม (Programmed Instruction) เช่นบทเรียนโปรแกรม ซึ่งประกอบไปด้วยสิ่งเร้าสั้น ๆ ที่เรียกว่า กรอบหรือเฟรม การจูงใจ และเร้าให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติหรือมีส่วนร่วม ได้ตอบสนองและได้รับการเสริมแรงเมื่อผู้เรียนตอบสนองถูกต้อง
จิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มความรู้ความเข้าใจกับเทคโนโลยีการศึกษา
จิตวิทยากลุ่มความรู้ความเข้าใจ เป็นจิตวิทยาการเรียนรู้ที่กล่าวถึงกระบวนการทางจิต หรือปัญญาที่เราไม่อาจสังเกตเห็นได้ เพื่ออธิบายพฤติกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ที่แสดงออกและสังเกตเห็นได้
จิตวิทยากลุ่มความรู้ความเข้าใจนี้ นับว่ามีความสำคัญต่อสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ทั้งนี้เพราะเป็นจิตวิทยาที่เน้นกระบวนการเรียนการสอนออกมาในลักษณะของพฤติกรรมง่าย ๆ ของเนื้อหาวิชาและผู้เรียน
กราโบวสกี้ ชโรเดอร์และฮอลลินส์ ได้เสนอแนวคิดทฤษฏีกระบวนการความรู้ ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของจิตวิทยาความรู้ความเข้าใจโดยชโรเดอร์ได้ศึกษายุทธศาสตร์การเรียนรู้ด้วยการนำทฤษฏีจิตวิทยาความรู้ความเข้าใจไปเป็นหลักในการออกแบบการสอนโดยเน้นในเรื่องของเอกัตบุคคล
จากกระบวนการความรู้และการเน้นเอกัตบุคคลดังกล่าว ฮอลลินส์ได้ศึกษาวิจัยวิธีการแก้ปัญหา โดยเน้นให้เห็นความแตกต่างระหว่างการแก้ปัญหาของผู้ชำนาญ กับการแก้ปัญหาของผู้ที่ยังไม่มีประสบการณ์ และเสนอแนวคิดดังกล่าวไปสู่การประยุกต์ใช้ในการสอนและการพัฒนาหลักสูตร
นอกจากนั้นกุซมา ได้เสนอแนวความคิดโครงสร้างแบบสคริปต์ในแง่ของความรู้ ที่สามารถจัดเป็นโครงสร้างของการพัฒนาสิ่งของกับเหตุการณ์ และประยุกต์ทฤษฏีสคริปต์ไปสู่สถานการณ์การเรียนการสอน
จิตวิทยาความรู้ความเข้าใจตามทัศนะของนักเทคโนโลยีการศึกษา และจากการศึกษาตรวจสอบของจิตวิทยาความรู้ความเข้าใจสาขาต่าง ๆ แล้ว จะทำให้สามารถกำหนดหลักการใหม่ ๆ ที่นำไปสู่แนวปฏิบัติได้ เทคโนโลยีการศึกษาควรสร้างแนวคิดจากหลักการข้อนี้และก้าวไปข้างหน้าสู่แนวทางการวิจัยรูปแบบใหม่ ๆ ต่อไป
ในทางปฏิบัตินักการศึกษาที่จัดการศึกษาและการเรียนการสอนโดยอิงทฤษฏีการเรียนรู้กลุ่มความรู้ความเข้าใจ จำเป็นต้องอาศัยสื่อต่าง ๆ ที่สัมผัสได้ด้วยตา และสื่ออื่น ๆ ที่เรียนรู้ด้วยประสาทสัมผัส เพื่อเป็นตัวกลางนำเนื้อหาไปสู่ผู้เรียน
ทฤษฎีจิตวิทยาการเรียนรู้
กับเทคโนโลยีการศึกษา
กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
ทฤษฏีของพาพลอฟ คือ เมื่อนาสิ่งเร้าที่เป็นกลางหรือสิ่งเร้าที่ต้องวางเงื่อนไข(CS)
เสนอควบคู่กับสิ่งเร้าที่ไม่ต้องวางเงื่อนไข(UCS) ซ้า ๆ หลายครั้ง ในที่สุดสิ่งเร้าที่เป็นกลางนั้น
จะกลายเป็นสิ่งเร้าที่สามารถกระตุ้นให้เกิดการตอบสนองได้ด้วยตัวมันเอง
ทฤษฎีของวัตสัน (Watson) คือ วัตสันได้นาเอาทฤษฎีของ
พาพลอฟมาเป็นหลักสาคัญในการอธิบายเรื่องการเรียน
ผลงานของวัตสันได้รับความนิยมแพร่หลายจนได้รับการยกย่องว่าเป็น “บิดาของจิตวิทยาพฤติกรรมนิยม” ทฤษฎีของเขามีลักษณะในการอธิบายเรื่องการเกิดอารมณ์จากการวางเงื่อนไข
(Conditioned emotion)
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ธอร์นไดค์ (Edward L Thorndike) เป็นนักจิตวิทยาและนักการศึกษาชาวอเมริกัน
เป็นเจ้าของทฤษฎีการเรียนรู้ที่เน้นความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า (S)
กับการตอบสนอง (R) เขาเชื่อว่าการเรียนรู้เกิดขึ้นได้ต้องสร้างสิ่งเชื่อมโยงหรือพันธ(Bond)
ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง จึงเรียกทฤษฎีนี้ว่า
ทฤษฎีพันธะระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง (Connectionism Theory) หรือ ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของสกินเนอร์
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคนั้นจากัดอยู่กับพฤติกรรมการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นเป็นจานวนน้อยของมนุษย์พฤติกรรมส่วนใหญ่แล้วมนุษย์จะเป็นผู้ลงมือปฏิบัติเองไม่ใช่เกิดจากการจับคู่ระหว่างสิ่งเร้าใหม่กับสิ่งเร้าเก่าตามการอธิบายของพาพลอฟ
สกินเนอร์ได้อธิบาย คาว่า พฤติกรรม ว่าประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ตัว คือสิ่งที่ก่อให้เกิดขึ้นก่อน (Antecedent)
พฤติกรรม (Behavior) ผลที่ได้รับ (Consequence)
ซึ่งเขาเรียกย่อๆ ว่า A-B-C
จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว
“ชำนาญ เกี่ยวกับ เรื่องการเรียนการสอน
อาจทำงานในโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยทำการวิจัย ศึกษาเรื่องการเรียนรู้มนุษย์”
จิตวิทยา คือ ศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับจิตใจ (กระบวนการของจิต) , กระบวนความคิด, และพฤติกรรม ของมนุษย์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาที่นักจิตวิทยาศึกษาเช่น การรับรู้ (กระบวนการรับข้อมูลของมนุษย์) ,
อารมณ์, บุคลิกภาพ, พฤติกรรม,
และรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
จิตวิทยายังมีความหมายรวมไปถึงการประยุกต์ใช้ความรู้กับกิจกรรมในด้านต่าง ๆ
ของมนุษย์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน (เช่นกิจกรรมที่เกิดขึ้นในครอบครัว, ระบบการศึกษา, การจ้างงานเป็นต้น)
และยังรวมถึงการใช้ความรู้ทางจิตวิทยาสำหรับการรักษาปัญหาสุขภาพจิต นักจิตวิทยามีความพยายามที่จะศึกษาทำความเข้าใจถึงหน้าที่หรือจุดประสงค์ต่าง
ๆ ของพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากตัวบุคคลและพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในสังคม
ขณะเดียวกันก็ทำการศึกษาขั้นตอนของระบบประสาทซึ่งมีผลต่อการควบคุมและแสดงออกของพฤติกรรม
พฤติกรรม ในที่นี้จะขอทบทวนสักเล็กน้อยว่าความหมายของคำว่า
“พฤติกรรม” เราหมายถึงการกระทำที่แสดงออกมาโดยสังเกตเห็นได้
หรือสามารถใช้เครื่องวัดได้
ในทางจิตวิทยาเราจะแยกความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าอินทรีย์และการตอบสนองออกมาในรูปแบบเช่นนี้
คือ สิ่งเร้า > อินทรีย์ > การตอบสนอง
จิตวิทยาการเรียนรู้
การเรียนรู้
เป็นกระบวนการที่มีความสำคัญและจำเป็นในการดำรงชีวิต
สิ่งมีชีวิตไม่ว่ามนุษย์หรือสัตว์เริ่มเรียนรู้ตั้งแต่แรกเกิดจนตาย
สำหรับมนุษย์การเรียนรู้เป็นสิ่งที่ช่วยพัฒนาให้มนุษย์แตกต่างไปจากสัตว์โลก อื่น ๆ
ดังพระราชนิพนธ์บทความของสมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดา ฯ ที่ว่า
"สิ่งที่ทำให้คนเราแตกต่างจากสัตว์อื่น ๆ ก็เพราะว่า คนย่อมมีปัญญา
ที่จะนึกคิดและปฏิบัติสิ่งดีมีประโยชน์และถูกต้องได้ "
การเรียนรู้ช่วยให้มนุษย์รู้จักวิธีดำเนินชีวิตอย่างเป็นสุข
ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมและสภาพการต่างๆ ได้
ความสามารถในการเรียนรู้ของมนุษย์จะมีอิทธิพลต่อความสำเร็จและความพึงพอใจในชีวิตของมนุษย์ด้วย